ขอบเขตเนื้อหากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ระดับชั้นอนุบาล ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘
Quarter 1
|
Quarter 2
|
Quarter 3
|
Quarter 4
|
||||
วรรณกรรม
|
หลักภาษา
|
วรรณกรรม
|
หลักภาษา
|
วรรณกรรม
|
หลักภาษา
|
วรรณกรรม
|
หลักภาษา
|
นิทาน
- เต่าภูมิใจ
- ปลาดาวบนชายหาด
- ภูเขากับต้นไม้
- เด็กชายกับดวงดาว
- พระราชาบนดาวสีเขียว
- นิทานอื่นๆ |
- พยัญชนะไทย คือ
ก-ฮ
- ฐานกัณฐชะ (คอ) พยัญชนะไทย คือ ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง ห อ ฮ
- ฐานตาลุชะ (เพดาน) พยัญชนะไทย คือ จ ฉ ช ซ ฌ ญ ย ศ
- ฐานมุทธชะ (ปุ่มเหงือก) พยัญชนะไทย คือ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ร ษ ฬ
- ฐานหันตะชะ (ฟัน) พยัญชนะไทย คือ ด ต ถ ท ธ น ล ส
- ฐานโอฐชะ (ริมฝีปาก)พยัญชนะไทย คือ บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ว
- การผสมเสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์
( ะ า ิ
ี ึ ื
ุ ู เ
แ โ ใ
ไ / ่ ้ ๊
๋ ฯลฯ)
- คำศัพท์พื้นฐานสำหรับวัยอนุบาล
(เช่น แม่ บ้าน พ่อ เล่น มี ให้ ชอบ นอน มือ ตา ปาก
ฯลฯ)
|
นิทาน
- เต่าภูมิใจ
- ปลาดาวบนชายหาด
- ภูเขากับต้นไม้
- เด็กชายกับดวงดาว
- พระราชาบนดาวสีเขียว
- นิทานอื่นๆ |
๑.พยัญชนะไทย คือ
ก-ฮ
๒.ฐานกัณฐชะ (คอ) พยัญชนะไทย คือ ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง ห อ ฮ
๓.ฐานตาลุชะ (เพดาน) พยัญชนะไทย คือ จ ฉ ช ซ ฌ ญ ย ศ
๔.ฐานมุทธชะ (ปุ่มเหงือก) พยัญชนะไทย คือ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ร ษ ฬ
๕.ฐานหันตะชะ (ฟัน) พยัญชนะไทย คือ ด ต ถ ท ธ น ล ส
๖.ฐานโอฐชะ (ริมฝีปาก)พยัญชนะไทย คือ บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ว
๗.การผสมเสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์
( ะ า ิ
ี ึ ื
ุ ู เ
แ โ ใ
ไ / ่ ้ ๊
๋ ฯลฯ)
๘.คำศัพท์พื้นฐานสำหรับวัยอนุบาล
(เช่น แม่ บ้าน พ่อ เล่น มี ให้ ชอบ นอน มือ ตา ปาก
ฯลฯ)
|
นิทาน
- เต่าภูมิใจ
- ปลาดาวบนชายหาด
- ภูเขากับต้นไม้
- เด็กชายกับดวงดาว
- พระราชาบนดาวสีเขียว
- นิทานอื่นๆ |
๑.พยัญชนะไทย คือ
ก-ฮ
๒.ฐานกัณฐชะ (คอ) พยัญชนะไทย คือ ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง ห อ ฮ
๓.ฐานตาลุชะ (เพดาน) พยัญชนะไทย คือ จ ฉ ช ซ ฌ ญ ย ศ
๔.ฐานมุทธชะ (ปุ่มเหงือก) พยัญชนะไทย คือ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ร ษ ฬ
๕.ฐานหันตะชะ (ฟัน) พยัญชนะไทย คือ ด ต ถ ท ธ น ล ส
๖.ฐานโอฐชะ (ริมฝีปาก)พยัญชนะไทย คือ บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ว
๗.การผสมเสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์
( ะ า ิ
ี ึ ื
ุ ู เ
แ โ ใ
ไ / ่ ้ ๊
๋ ฯลฯ)
๘.คำศัพท์พื้นฐานสำหรับวัยอนุบาล
(เช่น แม่ บ้าน พ่อ เล่น มี ให้ ชอบ นอน มือ ตา ปาก
ฯลฯ)
|
นิทาน
- เต่าภูมิใจ
- ปลาดาวบนชายหาด
- ภูเขากับต้นไม้
- เด็กชายกับดวงดาว
- พระราชาบนดาวสีเขียว
- นิทานอื่นๆ |
๑.พยัญชนะไทย คือ
ก-ฮ
๒.ฐานกัณฐชะ (คอ) พยัญชนะไทย คือ ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง ห อ ฮ
๓.ฐานตาลุชะ (เพดาน) พยัญชนะไทย คือ จ ฉ ช ซ ฌ ญ ย ศ
๔.ฐานมุทธชะ (ปุ่มเหงือก) พยัญชนะไทย คือ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ร ษ ฬ
๕.ฐานหันตะชะ (ฟัน) พยัญชนะไทย คือ ด ต ถ ท ธ น ล ส
๖.ฐานโอฐชะ (ริมฝีปาก)พยัญชนะไทย คือ บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ว
๗.การผสมเสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์
( ะ า ิ
ี ึ ื
ุ ู เ
แ โ ใ
ไ / ่ ้ ๊
๋ ฯลฯ)
๘.คำศัพท์พื้นฐานสำหรับวัยอนุบาล
(เช่น แม่ บ้าน พ่อ เล่น มี ให้ ชอบ นอน มือ ตา ปาก
ฯลฯ)
|
|
เวลาเรียน ๑๐ สัปดาห์ (๒๐ชั่วโมง)
|
|
เวลาเรียน ๑๐ สัปดาห์ (๒๐
ชั่วโมง)
|
|
เวลาเรียน ๙ สัปดาห์ (๒๐ ชั่วโมง)
|
|
เวลาเรียน ๑๐ สัปดาห์ (๒๐
ชั่วโมง)
|
ปฏิทินการเรียนรู้รายวิชา ภาษาไทย
ระดับชั้นอนุบาล ๒ ภาคเรียนที่ ๑ (Quarter2) ปีการศึกษา ๒๕๕๘
เป้าหมาย: นักเรียนเข้าใจพยัญชนะ
และสระในภาษาไทย โดยสามารถออกเสียงได้ชัดเจน ตลอดจนเข้าใจความหมายของคำ แล้วเชื่อมโยงมาปรับใช้ในการสื่อสารได้
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
10-11
ส.ค.58 |
วรรณกรรม
นิทานเรื่อง “เด็กดีไม่ขี้ตู่”
หลักภาษา
- พยัญชนะภาษาไทยตาม
ฐานกรณ์ที่เกิดเสียง เริ่มจาก
ฐานคอ (ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง ห อ ฮ)
- สระในภาษาไทย |
-
ครูเล่านิทานเรื่อง”เด็กดีไม่ขี้ตู่”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “มีตัวละครอะไรบ้าง และนักเรียนชอบตัวละครตัวไหน/เพราะเหตุใด และถ้าเป็นเราจะทำอย่างไร” - ครู และนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานที่ได้ฟัง โดยใช้เครื่องมือคิด (Brainstorms)
-
ครูพานักเรียนฝึกอ่านออกเสียงพยัญชนะตามฐานการออกเสียง ก – ฮ
- ครูนำบัตรคำพยัญชนะภาษาไทยตามฐานกรณ์ ที่เกิดเสียง เริ่มจาก ฐานคอ (ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง ห อ ฮ) เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับการออกเสียง
-
ครูพานักเรียนออกเสียงพยัญชนะฐานคอ คือ ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง ห อ ฮ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนเคยเห็นพยัญชนะตัวอะไรบ้าง...อ่านอย่างไร”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์ที่เคยเห็นในที่ต่างๆเช่น
ไก่ กา ขา
ควาย ฯลฯ โดยครูช่วยเขียนคำศัพท์บนกระดาน โดยใช้เครื่องมือคิด (Blackboard Share) - นักเรียนเขียนภาพ web แตกแขนงคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ ก ข ฃ ค ฅ - ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลงสระ
-
ครูพานักเรียนออกเสียงพยัญชนะฐานคอ คือ ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง ห อ ฮ
- ครูเขียนสระต่างๆไว้บนกระดาน เช่น ( ะ า ิ ี ึ ื ุ ู เ แ โ ใ ไ / ่ ้ ๊ ๋ ฯลฯ)
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่านำพยัญชนะ
ฆ ง ห อ ฮ
เติมลงในสระอ่านออกเสียงอย่างไร และคิดว่ามีความหมายอย่างไร”
- นักเรียนช่วยกันเลือกพยัญชนะมาเติมเพื่อให้เกิดคำที่มีความหมายโดยครูช่วยเขียนไว้บนกระดาน |
ชิ้นงาน
ภาพ web แตกแขนงคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง ห อ ฮ ภาระงาน - พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกเสียงพยัญชนะแต่ละตัว
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำที่มีความหมาย
- ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
|
ความรู้
- รู้และเข้าใจพยัญชนะไทย และสระโดยสามารถออกเสียงได้ชัดเจน
- เข้าใจความหมายของคำและสามารถเชื่อมโยงปรับใช้ในการสื่อสารได้
ทักษะ - มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิด ทัศนคติที่มีต่อเรื่องที่อ่านกับเพื่อนในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์
-
มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม และเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- รักการอ่าน
|
เป้าหมาย: นักเรียนเข้าใจความหมายของคำศัพท์ในบทเพลง
พร้อมวาดภาพสื่อความหมายของคำได้
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
2
17-18
ส.ค.58 |
วรรณกรรม
- นิทานเรื่อง “เด็กดีต้องรู้คุณ” - บทเพลง “สุขทุกที”
หลักภาษา
- พยัญชนะภาษาไทยตาม
ฐานกรณ์ที่เกิดเสียง เริ่มจาก
ฐานคอ (ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง ห อ ฮ)
- คำกิริยา |
-
ครูนำบทเพลง “สุขทุกที” มาติดบนกระดาน
แล้วพานักเรียนร้อง และทำท่าประกอบ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนรู้สึกอย่างไร/คำที่สังเกตเห็นนักเรียนคิดว่ามีความหมายอย่างไร”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์ที่อยู่ในบทเพลง โดยผ่านเครื่องมือคิด (Brainstorms)
- ครูเตรียมรูปภาพต่างๆอยู่ภายในกล่องปริศนาที่ปิดสนิท
- นักเรียนมาหยิบรูปภาพปริศนาแล้วทำท่าทางสื่อความหมายของภาพให้เพื่อนๆช่วยทายว่าเป็นคำว่าอะไร - ครูช่วยเขียนคำเหล่านั้นบนกระดานโดย มีนักเรียนช่วยกันสะกดคำ โดยใช้เครื่องมือคิด (Blackboard Share) - ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์จากการเล่นเกมทีละคำพร้อมบอกความรู้สึกขณะที่ทายคำศัพท์เหล่านั้น - นักเรียนนำคำศัพท์จากการเล่นเกมมาแต่งเป็นประโยคที่เข้าใจง่ายพร้อมวาดภาพประกอบ |
ชิ้นงาน
- วาดภาพประกอบบทเพลง - แต่งประโยค ภาระงาน - พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์ที่มีในบทเพลง
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปภาพที่สื่อถึงคำศัพท์
- ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
|
ความรู้
รู้และเข้าใจความหมายของคำศัพท์ในบทเพลงพร้อมวาดภาพสื่อความหมายของคำได้
ทักษะ - มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิด ทัศนคติที่มีต่อเรื่องที่อ่านกับเพื่อนในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์
-
มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
และเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- รักการอ่าน
|
เป้าหมาย: นักเรียนเข้าใจพยัญชนะ และสระในภาษาไทย
โดยสามารถออกเสียงได้ชัดเจน ตลอดจนเข้าใจความหมายของคำ แล้วเชื่อมโยงมาปรับใช้ในการสื่อสารได้
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
3
24-25
ส.ค.58 |
วรรณกรรม
- นิทานเรื่อง “เด็กดีไม่ขี้แกล้ง” - เพลงสระ
หลักภาษา
- พยัญชนะภาษาไทยตาม
ฐานตาลุชะ (เพดาน) พยัญชนะไทย คือ จ ฉ ช ซ ฌ ญ ย ศ
- สระในภาษาไทย |
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “เด็กดีไม่ขี้แกล้ง”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “มีตัวละครอะไรบ้าง และนักเรียนชอบตัวละครตัวไหน/เพราะเหตุใด และถ้าเป็นเราจะทำอย่างไร” - ครู และนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานที่ได้ฟัง โดยใช้เครื่องมือคิด (Brainstorms) - ครูพานักเรียนฝึกอ่านออกเสียงพยัญชนะตามฐานการออกเสียง ก – ฮ - ครูนำบัตรคำพยัญชนะภาษาไทยตาม ฐานตาลุชะ (เพดาน) พยัญชนะไทย คือ จ ฉ ช ซ ฌ ญ ย ศ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับการออกเสียง
-
ครูพานักเรียนออกเสียงพยัญชนะฐานเพดาน คือ จ ฉ ช ซ ฌ ญ ย ศ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนเคยเห็นพยัญชนะตัวอะไรบ้าง...อ่านอย่างไร” - ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์ที่เคยเห็นในที่ต่างๆเช่น จาน ฉัน ช้าง ฯลฯ โดยครูช่วยเขียนคำศัพท์บนกระดาน โดยใช้เครื่องมือคิด (Blackboard Share) - นักเรียนเขียนภาพ web แตกแขนงคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ จ ฉ ช ซ - ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลงสระ
-
ครูพานักเรียนออกเสียงพยัญชนะฐานเพดาน คือ จ ฉ ช ซ ฌ ญ ย ศ
- ครูเขียนสระต่างๆไว้บนกระดาน เช่น ( ะ า ิ ี ึ ื ุ ู เ แ โ ใ ไ / ่ ้ ๊ ๋ ฯลฯ)
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่านำพยัญชนะ
ฌ ญ ย ศ
เติมลงในสระอ่านออกเสียงอย่างไร และคิดว่ามีความหมายอย่างไร”
-
นักเรียนช่วยกันเลือกพยัญชนะมาเติมเพื่อให้เกิดคำที่มีความหมายโดยครูช่วยเขียนไว้บนกระดาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันอ่านทบทวนคำศัพท์ ต่างๆบนกระดานอีกครั้ง |
ชิ้นงาน
ภาพ web แตกแขนงคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะไทย คือ จ ฉ ช ซ ฌ ญ ย ศ ภาระงาน - พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกเสียงพยัญชนะแต่ละตัว
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำที่มีความหมาย
- ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
|
ความรู้
- รู้และเข้าใจพยัญชนะไทย และสระโดยสามารถออกเสียงได้ชัดเจน
-
เข้าใจความหมายของคำและสามารถสื่อสารได้
ทักษะ - มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิด ทัศนคติที่มีต่อเรื่องที่อ่านกับเพื่อนในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์
-
มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม และเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- รักการอ่าน
|
เป้าหมาย: นักเรียนเข้าใจความหมายของคำศัพท์เชื่อมโยงกับสิ่งของต่างๆ
พร้อมวาดภาพสื่อความหมายของคำ ตลอดจนทักษะในการอ่าน และเขียนคำได้ถูกต้อง
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
4
31ส.ค.
-
1 ก.ย. 58 |
วรรณกรรม
บทเพลง “ฉันชอบกุหลาบ” หลักภาษา คำนาม |
-
ครูนำบทเพลง “ฉันชอบกุหลาบ” มาติดบนกระดาน แล้วพานักเรียนร้อง และทำท่าประกอบ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนรู้สึกอย่างไร/คำที่สังเกตเห็นนักเรียนคิดว่ามีความหมายอย่างไร”
- ครู และนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์ที่อยู่ในบทเพลง
โดยใช้เครื่องมือคิด (Brainstorms)
- นักเรียนวาดภาพประกอบบทเพลง - ครูและนักเรียนร่วมกันฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์อีกครั้ง พร้อมสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
-
ทบทวนคำศัพท์จากบทเพลงในชั่วโมงที่แล้ว
- ครูเตรียมเกมล้วงสิ่งของแล้วหาคำศัพท์ - นักเรียนล้วงสิ่งของแล้วตอบคำถามกับครู “สิ่งของที่นักเรียนได้เรียกว่าอะไร /ใช้อย่างไร/เขียนอย่างไร” จากนั้นนักเรียนจะไปค้นหาคำศัพท์ที่เชื่อมโยงกับสิ่งของที่ได้จากแหล่งเรียนรู้ที่ครูเตรียมไว้ - ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์จากการเล่นเกมทีละคำพร้อมบอกความรู้สึกขณะที่ไปค้นหาคำศัพท์เหล่านั้น โดยใช้เครื่องมือคิด (Brainstorms) - นักเรียนเขียนคำศัพท์พร้อมวาดภาพประกอบลงในสมุดเล่มเล็ก - ครูและนักเรียนร่วมกันฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์อีกครั้ง พร้อมสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ |
ชิ้นงาน
วาดภาพประกอบคำศัพท์ ภาระงาน - พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์ที่มีในบทเพลง
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปภาพที่สื่อถึงคำศัพท์
- ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
|
ความรู้
- รู้และเข้าใจความหมายของคำศัพท์เชื่อมโยงกับสิ่งของต่างๆ
พร้อมวาดภาพสื่อความหมายของคำได้
- อ่าน และเขียนคำได้ถูกต้อง ทักษะ - มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิด ทัศนคติที่มีต่อเรื่องที่อ่านกับเพื่อนในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์
-
มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
และเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- รักการอ่าน
|
เป้าหมาย: นักเรียนเข้าใจพยัญชนะ และสระในภาษาไทย
โดยสามารถออกเสียงได้ชัดเจน ตลอดจนเข้าใจความหมายของคำ แล้วเชื่อมโยงมาปรับใช้ในการสื่อสารได้
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
5
7-8
ก.ย.58 |
วรรณกรรม
นิทานเรื่อง “เด็กดีกินของมีประโยชน์”
หลักภาษา - พยัญชนะภาษาไทยตาม
ฐานมุทธชะ (ปุ่มเหงือก) พยัญชนะไทย คือ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ร ษ ฬ
- สระในภาษาไทย
|
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “เด็กดีกินของมีประโยชน์”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “มีตัวละครอะไรบ้าง และนักเรียนชอบตัวละครตัวไหน/เพราะเหตุใด และถ้าเป็นเราจะทำอย่างไร” - ครู และนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานที่ได้ฟัง โดยใช้เครื่องมือคิด (Brainstorms)
-
ครูพานักเรียนฝึกอ่านออกเสียงพยัญชนะตามฐานการออกเสียง ก – ฮ
- ครูนำบัตรคำพยัญชนะภาษาไทยตามฐานมุทธชะ (ปุ่มเหงือก) พยัญชนะไทย คือ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ร ษ ฬ
เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับการออกเสียง
-
ครูพานักเรียนออกเสียงพยัญชนะฐานมุทธชะ (ปุ่มเหงือก) พยัญชนะไทย คือ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ร ษ ฬ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนเคยเห็นพยัญชนะตัวอะไรบ้าง...อ่านอย่างไร”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์ที่เคยเห็นในที่ต่างๆเช่น
กฎ ฐาน ฯลฯ
โดยครูช่วยเขียนคำศัพท์บนกระดาน โดยใช้เครื่องมือคิด (Blackboard Share)
|
ชิ้นงาน
ภาพ web แตกแขนงคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ร ษ ฬ ภาระงาน - พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกเสียงพยัญชนะแต่ละตัว
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำที่มีความหมาย
- ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
|
ความรู้
- รู้และเข้าใจพยัญชนะไทย และสระโดยสามารถออกเสียงได้ชัดเจน
- เข้าใจความหมายของคำ
และสามารถสื่อสารได้
ทักษะ - มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิด ทัศนคติที่มีต่อเรื่องที่อ่านกับเพื่อนในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์
-
มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
และเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- รักการอ่าน
|
เป้าหมาย: เข้าใจความหมายของคำศัพท์ แล้วเชื่อมโยงกับสิ่งของต่างๆ
พร้อมวาดภาพสื่อความหมายของคำเพื่อสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างเข้าใจ
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
6
14-15
ก.ย.58 |
วรรณกรรม
นิทานเรื่อง “เด็กดีใจเย็นๆ” หลักภาษา การเล่าสื่อสาร |
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “เด็กดีใจเย็นๆ”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนเห็นตัวละครอะไรบ้างจากนิทาน /มีคำอะไรอีกบ้างในเรื่อง”
- ครู และนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวละคร
และคำศัพท์อื่นๆในเรื่องที่ฟัง โดยครูช่วยเขียนบนกระดาน โดยใช้เครื่องมือคิด (Blackboard Share)
- เขียนคำศัพท์ลงในสมุดเล่มเล็ก - ครูและนักเรียนร่วมกันฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์อีกครั้ง พร้อมสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ - ทบทวนคำศัพท์จากชั่วโมงที่แล้ว - ครูเตรียมภาพนิทาน - นักเรียนเลือกภาพนิทานที่ชอบ แล้วตอบคำถามกับครู “รูปภาพที่นักเรียนได้รับมีอะไรบ้าง/ใช้ทำอะไรได้บ้าง” จากนั้นนักเรียนระบายสีภาพนิทานและซ้อมเล่านิทานเพื่อนำเสนอ - นักเรียนเล่านิทานจากภาพที่ตนเองได้ ให้เพื่อนๆฟัง - ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานที่เพื่อนๆเล่าให้ฟัง โดยใช้เครื่องมือคิด (Brainstorms) |
ชิ้นงาน
- เขียนคำศัพท์ - ภาพวาดนิทาน ภาระงาน - พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์ที่มีในนิทาน
- เล่าถ่ายทอดเรื่องราวจากภาพ
- ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
|
ความรู้
- รู้และเข้าใจความหมายของคำศัพท์เชื่อมโยงกับสิ่งของต่างๆ
พร้อมวาดภาพสื่อความหมายของคำได้
- สื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างเข้าใจ ทักษะ - มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิด ทัศนคติที่มีต่อเรื่องที่อ่านกับเพื่อนในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์
-
มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
และเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- รักการอ่าน
|
เป้าหมาย: เข้าใจความหมายของคำศัพท์ แล้วเชื่อมโยงกับสิ่งของต่างๆ
พร้อมวาดภาพสื่อความหมายของคำเพื่อสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างเข้าใจ
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
7
21-22
ก.ย.58 |
วรรณกรรม
นิทานเรื่อง “เด็กดีรู้จักวันสำคัญ” หลักภาษา - พยัญชนะภาษาไทยตาม
ฐานหันตะชะ (ฟัน) พยัญชนะไทย คือ ด ต ถ ท ธ น ล ส
- สระในภาษาไทย |
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “เด็กดีรู้จักวันสำคัญ”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “มีตัวละครอะไรบ้าง และนักเรียนชอบตัวละครตัวไหน/เพราะเหตุใด และถ้าเป็นเราจะทำอย่างไร” - ครู และนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานที่ได้ฟัง โดยใช้เครื่องมือคิด (Blackboard Share)
-
ครูพานักเรียนฝึกอ่านออกเสียงพยัญชนะตามฐานการออกเสียง ก – ฮ
- ครูนำบัตรคำพยัญชนะภาษาไทยตามฐานหันตะชะ (ฟัน) พยัญชนะไทย คือ ด ต ถ ท ธ น ล ส
เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับการออกเสียง
-
ครูพานักเรียนออกเสียงพยัญชนะฐานหันตะชะ (ฟัน) พยัญชนะไทย คือ ด ต ถ ท ธ น ล ส
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนเคยเห็นพยัญชนะตัวอะไรบ้าง...อ่านอย่างไร”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์ที่เคยเห็นในที่ต่างๆเช่น
ดี ตี ถู ทำฯลฯ
โดยครูช่วยเขียนคำศัพท์บนกระดาน โดยใช้เครื่องมือคิด (Brainstorms)
- นักเรียนเขียนภาพ web แตกแขนงคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ ด ต ถ ท - ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลงสระ
-
ครูพานักเรียนออกเสียงพยัญชนะฐานหันตะชะ (ฟัน) พยัญชนะไทย คือ ด ต ถ ท ธ น ล ส
- ครูเขียนสระต่างๆไว้บนกระดาน เช่น ( ะ า ิ ี ึ ื ุ ู เ แ โ ใ ไ / ่ ้ ๊ ๋ ฯลฯ)
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่านำพยัญชนะ
ธ น ล ส เติมลงในสระอ่านออกเสียงอย่างไร
และคิดว่ามีความหมายอย่างไร”
- นักเรียนช่วยกันเลือกพยัญชนะมาเติมเพื่อให้เกิดคำที่มีความหมายโดยครูช่วยเขียนไว้บนกระดาน โดยใช้เครื่องมือคิด (Blackboard Share) - ครูและนักเรียนร่วมกันอ่านทบทวนคำศัพท์ ต่างๆบนกระดานอีกครั้ง
- นักเรียนเขียนคำศัพท์ลงในสมุดเล่มเล็ก
|
ชิ้นงาน
ภาพ web แตกแขนงคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ ด ต ถ ท ธ น ล ส ภาระงาน - พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกเสียงพยัญชนะแต่ละตัว
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำที่มีความหมาย
- ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
|
ความรู้
- รู้และเข้าใจพยัญชนะไทย และสระโดยสามารถออกเสียงได้ชัดเจน
- เขียน และสามารถสื่อสารให้กับผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ - มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิด ทัศนคติที่มีต่อเรื่องที่อ่านกับเพื่อนในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์
-
มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
และเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- รักการอ่าน
|
เป้าหมาย: เข้าใจความหมายของคำศัพท์ แล้วเชื่อมโยงกับสิ่งของต่างๆ
พร้อมวาดภาพสื่อความหมายของคำเพื่อสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างเข้าใจ
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
8
28-29 ก.ย.58 |
วรรณกรรม
นิทานเรื่อง “เด็กดีสวดมนต์”
หลักภาษา
มาตราตัวสะกด(ตรงมาตรา) |
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “เด็กดีสวดมนต์”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนเห็นตัวละครอะไรบ้างจากนิทาน
/มีคำอะไรอีกบ้างในเรื่อง”
- ครู และนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวละคร
และคำศัพท์อื่นๆในเรื่องที่ฟัง โดยครูช่วยเขียนบนกระดาน โดยใช้เครื่องมือคิด (Blackboard Share)
- เขียนคำศัพท์ลงในสมุดเล่มเล็ก - ครูและนักเรียนร่วมกันฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์อีกครั้ง พร้อมสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ - ทบทวนคำศัพท์จากชั่วโมงที่แล้ว - ครูเตรียมเกมเติมคำศัพท์มาให้นักเรียนเล่น เช่น ช้าง งาม สวย ขาว ฯลฯ - นักเรียนเลือกพยัญชนะและสระที่จะเติมลงในช่องว่างที่อยู่ในเกม - ครูพานักเรียนสะกดอ่านทบทวนคำศัพท์ที่นักเรียนช่วยกันเติมจนครบสมบูรณ์
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความหมายของคำศัพท์จากการเล่นเกมและสังเกตสิ่งที่คล้ายกันของคำเหล่านั้น
เพื่อช่วยกันจัดขมวดหมู่ของคำ โดยใช้เครื่องมือคิด (Blackboard Share)
- นักเรียนช่วยหาเพื่อนเพิ่มให้กับคำศัพท์ที่จัดหมวดหมู่เสร็จแล้ว เช่น ช้าง จะมีเพื่อนเป็น ยาง กาง ข้าง ฯลฯ - เวลาส่งงานนักเรียนอ่านคำศัพท์ที่หาเพิ่มมาใหม่ให้ครูฟังด้วยการสะกดที่ละคำ |
ชิ้นงาน
- เขียนคำศัพท์ - ภาพ web แตกแขนงคำศัพท์ที่สะกดด้วย ง ม ย ว ภาระงาน - พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์ที่มีในนิทาน
- เล่าถ่ายทอดเรื่องราวจากภาพ
- ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
|
ความรู้
- รู้และเข้าใจความหมายของคำศัพท์เชื่อมโยงกับสิ่งของต่างๆ
พร้อมวาดภาพสื่อความหมายของคำได้
- สามารถเขียนและสะกดอ่านคำง่ายๆได้ - สามารถสื่อสารให้กับผู้อื่นเข้าใจได้ ทักษะ - มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิด ทัศนคติที่มีต่อเรื่องที่อ่านกับเพื่อนในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์
-
มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
และเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- รักการอ่าน
|
เป้าหมาย: เข้าใจพยัญชนะ และสระในภาษาไทย โดยสามารถออกเสียงได้ชัดเจน
ตลอดจนสามารถถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้มาผ่านการเขียนได้
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
9
5-6 ต.ค.58 |
วรรณกรรม
นิทานเรื่อง “เด็กดีตักบาตร” หลักภาษา - พยัญชนะภาษาไทยตาม
ฐานโอฐชะ (ริมฝีปาก)พยัญชนะไทย คือ บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ว
- สระในภาษาไทย
|
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “เด็กดีตักบาตร”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “มีตัวละครอะไรบ้าง และนักเรียนชอบตัวละครตัวไหน/เพราะเหตุใด และถ้าเป็นเราจะทำอย่างไร” - ครู และนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานที่ได้ฟัง โดยใช้เครื่องมือคิด (Brainstorms)
-
ครูพานักเรียนฝึกอ่านออกเสียงพยัญชนะตามฐานการออกเสียง ก – ฮ
- ครูนำบัตรคำพยัญชนะภาษาไทยตามฐานโอฐชะ (ริมฝีปาก)พยัญชนะไทย คือ บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ว
เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับการออกเสียง
-
ครูพานักเรียนออกเสียงพยัญชนะฐานโอฐชะ (ริมฝีปาก)พยัญชนะไทย คือ บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ว
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนเคยเห็นพยัญชนะตัวอะไรบ้าง...อ่านอย่างไร”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์ที่เคยเห็นในที่ต่างๆเช่น บ้าน ปลา ผม พัน ฟัน ภูเขา มา วัว ฯลฯ
โดยครูช่วยเขียนคำศัพท์บนกระดาน โดยใช้เครื่องมือคิด (Blackboard Share)
- นักเรียนเขียนภาพ web แตกแขนงคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ
บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ว
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลงสระ
-
ครูพานักเรียนออกเสียงพยัญชนะฐานโอฐชะ (ริมฝีปาก)พยัญชนะไทย คือ บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ว
- ครูเขียนสระต่างๆไว้บนกระดาน เช่น ( ะ า ิ ี ึ ื ุ ู เ แ โ ใ ไ / ่ ้ ๊ ๋ ฯลฯ)
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่านำพยัญชนะ
บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ว เติมลงในสระอ่านออกเสียงอย่างไร
และคิดว่ามีความหมายอย่างไร”
-
นักเรียนช่วยกันเลือกพยัญชนะมาเติมเพื่อให้เกิดคำที่มีความหมายโดยครูช่วยเขียนไว้บนกระดาน
โดยใช้เครื่องมือคิด (Blackboard Share)
- ครูและนักเรียนร่วมกันอ่านทบทวนคำศัพท์ ต่างๆบนกระดานอีกครั้ง - ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้มาตลอดทั้ง Q.2
- นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้มาตามความเข้าใจของตนเอง
|
ชิ้นงาน
- ภาพ web แตกแขนงคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ว - สรุปความเข้าใจหลังเรียน ภาระงาน - พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกเสียงพยัญชนะแต่ละตัว
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำที่มีความหมาย
- ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกันตลอดทั้ง
Q.2/๒๕๕๘
|
ความรู้
- รู้และเข้าใจพยัญชนะไทย และสระโดยสามารถออกเสียงได้ชัดเจน
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้มาผ่านการเขียนได้ ทักษะ - มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิด ทัศนคติที่มีต่อเรื่องที่อ่านกับเพื่อนในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์
- มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
และเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- รักการอ่าน
|